Author: รศ.ดร.พัชรี วรกิจพูนผล
Best Practices for Breastfeeding in the Preterm infants
ไฟล์นำเสนอเรื่อง Best Practices for Breastfeeding in the Preterm infants โดย ผศ.พัชรี วรกิจพูนผล ในการประชุม “Best practice in Pediatric” วันที่ 16-18 กพ.2554 ณ โรงแรมอโมราท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดยสถานบริการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
continue readingPositioning of Preterm Infants for Optimal Physiological Development: a systematic review
บทความวิจัยการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบที่เผยแพร่ใน JBI Library of Syatematic Review นำมาแบ่งปันเพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้
continue readingเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ โดย รศ. พัชรี วรกิจพูนผล
ไฟล์ presentation ของการประชุมวิชาการ ดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดแบบมืออาชีพ ณ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
continue readingบทบาทของผู้ช่วยพยาบาลในหออภิบาลทารกแรกเกิด
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งให้การดูแลทารกแรกเกิดรับใหม่จากห้องคลอดที่มีลักษณะอาการปกติ ที่มีน้ำหนักมากกว่า 1,800 กรัม และทารกเจ็บป่วยอาการไม่หนักที่รับย้ายจากหอผู้ป่วยหลังคลอดและตึกพิเศษต่าง ๆ ได้แก่
continue readingการดูแลทารกที่ได้รับการรักษาด้วยการส่องไฟ
ทารกแรกเกิดส่วนใหญ่จะได้รับการดูแลอยู่ในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดเป็นเวลา 24 – 72 ชั่วโมงก่อนที่มารดาจะนำทารกกลับไปเลี้ยงดูที่บ้านเพื่อประเมินร่างกายและสังเกตอาการ ซึ่งพบว่าทารกแรกเกิดบางรายอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยคือ ภาวะตัวเหลือง (Jaundice) หรือดีซ่าน ซึ่งภาวะดังกล่าวเกิดจาก ร่างกายทารกมีสารกลุ่มบิลิรูบิน (bilirubin)สูงขึ้นมากกว่าปกติ โดยในผู้ใหญ่ภาวะดีซ่านเป็นภาวะที่ผิดปกติเสมอแต่ในทารกแรกเกิดหลังคลอดใหม่ๆ โดยเฉพาะในสัปดาห์แรก ภาวะตัวเหลืองถือเป็นภาวะปกติทางสรีรวิทยาซึ่งเกิดขึ้นกับทารกแรกเกิดเกือบทุกคน โดยมีปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่ทำให้ทารกมีภาวะตัวเหลืองได้แก่ มารดาเป็นโรคเบาหวาน มารดาได้รับยา oxytocin ในระหว่างการคลอด มารดาที่ได้รับยาสลบขณะคลอด มารดาและทารกมีเลือดไม่เข้ากัน (ABO incompatibility) ทารกบางรายที่ได้รับนมมารดา ทารกเพศชายโดยเฉพาะในแถบเอเชีย ทารกแรกเกิดที่มีรอยจ้ำเลือดหรือ cephalhematoma ทารกที่ได้รับน้ำนมน้อย ทารกที่คลอดโดยวิธีผ่าตัดออกทางหน้าท้อง ทารกคลอดก่อนกำหนดและมีความสามารถในการดูดกลืนไม่ดีและทารกที่ในครอบครัวมีประวัติการเกิดตัวเหลือง ดังมีการแบ่งชนิดของการเกิดภาวะตัวเหลืองไว้ดังนี้
continue reading